อุปกรณ์ เครื่องช่วยฟัง คืออะไร ?
เครื่องช่วยฟัง คืออะไร ? หากคิดว่าคุณกำลังประสบปัญหาเรื่องการได้ยินเสียงน้อยลงหรือมีการเปลี่ยนแปลงของการรับเสียง และมีการพบแพทย์ ทางแพทย์ อาจจะมีการแนะนำ อุปกรณ์บางชนิด ที่เรียกว่า ‘ เครื่องช่วยฟัง ‘ หรืออีกชื่อในภาษาอังกฤษ เรียกว่า ‘ Hearing Aid ‘ ซึ่งเป็นอุปกรณ์เสริมสำหรับติดตั้งหรือใส่ไว้หลังหูคล้ายกับจำพวก อุปกรณ์ หูฟังไร้สาย และหน้าที่ของ เครื่องช่วยฟัง นั้น จะทำการขยายเสียง หรือ เพื่มระดับเสียง และ แรงสั่นสะเทือนของเสียง ทำให้ผู้มีปัญหาของการได้ยิน สามารถได้ยินเสียงที่ชัดขึ้น กว่าเดิม และแน่นอนว่าทำให้ผู้ที่ใช้ อุปกรณ์ช่วยฟัง หรือ เครื่องช่วยฟัง นี้ ทำการสื่อสารกับบุคลรอบข้างได้ง่ายขึ้นมากกว่าเดิมอีกด้วย และเครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี เรามีคำแนะนำให้
ลักษณะการทำงาน และ ประเภทของเครื่องช่วยฟัง
เครื่องช่วยฟัง มีกี่ประเภทกันนะ ต้องขอบอกไว้ก่อนเลยว่า เครื่องช่วยฟัง นั้น สามารถ แบ่งออกไปได้มากถึง 4 ประเภท และการทำงานของแต่ละประเภทนั้นก็ใกล้เคียง กันพอสมควร แต่จะแตกต่างกันที่รูปแบบ รูปทรง หรือลักษณะภายนอกและวิธีใช้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
1. เครื่องช่วยฟังแบบเกี่ยวหลังหู (BTE)
หากต้องการใช้งานจะเป็นการนำเอา เครื่องมาวางหลังแนวหู นั้นก็แปลว่าไม่ว่าจะเป็น ตัวของเครื่อง ทั้งหมดจะไปอยู่หลังแนวหูรวมไปถึงปุ่ม เปิด – ปิด ก็จะรวมไปอยู๋หลังแนวหูทั้งหมด และตัวเครื่องนั้นเหมาะกับผู้ที่มีอาการทางได้ยินลงลง ตั้งแต่ ระดับ 1 ไปจนถึง ระดับ 4 และยังเป็นรุ่นนิยมสำหรับผู้ที่ต้องการใช้เป็นอย่างมาก เพราะมีราคาเริ่มต้นที่ถูก อุปกรณ์ทนทาน ทำความสะอาดได้ง่าย
2. เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในหูขนาดเล็ก (ITC)
รูปร่างของ เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในหูขนาดเล็ก นั้น มีขนาดเล็ก และน้ำหนักเบา เนื่องจาก เครื่องผลิตทำมาจากพลาสติก และลำโพงของอุปกรณ์ตัวนี้ ก็จะเข้าไปกับช่องหูของผู้ใช้ได้เป็นอย่างดี แต่ในกรณีที่ผู้ใช้ใบหูใหญ่หรือช่องหูใหญ่อาจจะพบกับปัญหาใส่แล้วหลุดก็ได้ และ เครื่องช่วยฟังแบบใส่หูขนาดเล็ก นี้เหมาะ สมกับคนที่มีปัญหาทางการได้ยิน ในระดับ 1 ถึง 3 เท่านั้นไม่แนะนำให้ผู้มีปัญหา ระดับ 4 (หรือหูหนวกนั้นเอง) มาใช้
3. เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในหู (ITE)
เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในหู ITE นั้นมีขนาดใหญ่กว่า ITC ขึ้นมาอีก และเป็นขนาดที่เหมาะสมหรับคน ที่ ใบหูหรือช่องหูใหญ่ ซึ่งข้อแตกต่างจะไม่ต่างจาก ITC มากนักแต่เหมาะสำหรับผู้ที่มีภาวะ หูตึงระดับ 1 ไปจนถึง ระดับ 4 ( หรือถึงขั้นหูหนวกไปเลยนั้นเอง )
4. เครื่องช่วยฟังแบบเกี่ยวหลังหูขนาดเล็ก (RIC)
เครื่องช่วยฟังแบบเกี่ยวหลังหูขนาดเล็ก ว่าด้วยเรื่องของขนาดนั้น จะเล็กกว่าแบบ BTE แต่ตัวอุปกณ์รับเสียงจะเข้าไปในช่องหูแบบพอดี เนื่องจากใส่เข้าไปแล้ว จะมองไม่เห็นเลยด้วย ซ้ำว่ามีอุปกณ์เสริมนี้ใส่เข้าไป โดยเครื่องจะเหมาะสำหรับ ผู้ใช้งานที่สุญเสีย การได้ยินเสียงระดับ 2 ไปจนถึง ระดับ 3 เท่านั้น
จะรู้ได้อย่างไรว่าเราหูตึงและต้องใช้เครื่องช่วยฟัง
หูตึง ซึ่งมีระดับความรุนแรงของการสูญเสียการได้ยิน ของแตะระดับดังนี้
เสียงที่ได้ยิน | ระดับความรุนแรง |
ได้ยินเสียงพูดคุยในระดับ 0-25 เดซิเบล | ปกติ |
ไม่สามารถได้ยินเสียงกระซิบ มีระดับการได้ยินที่ 26- 40 เดซิเบล | หูตึงน้อย |
ไม่ได้ยินเสียงพูดในระดับปกติ ระดับเสียงเพิ่มเป็น 41-55 เดซิเบล | หูตึงปานกลาง |
ไม่ได้ยินแม้คนที่พยายามพูดเสียงดัง ต้องใช้เสียงดังระดับ 56-70 เดซิเบล | หูตึงมาก |
เมื่อตะโกนก็ยังไม่ได้ยิน ด้วยระดับเสียง 71-90 เดซิเบล | หูตึงขั้นรุนแรง |
หากต้องใช้เสียงดังมากกว่า 91 เดซิเบลขึ้นไป | หูหนวก |
7 อันดับ เครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี ที่เป็นที่นิยมในปี 2022
เครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี แบรนด์ Bluedot แบบถ่าน รุ่น B-HA01
เครื่องช่วยฟัง Bluedot แบบชาร์จ รุ่น B-HA01 เป็นรุ่นที่นิยมมาก เพราะมีลักษณะ เป็นเครื่องช่วยฟังที่มีขนาดเล็กเอาไว้ใส่ในช่องหู แถมยังมีราคาถูก เหมาะสำหรับผู้มีปัญหาการได้ยิน เช่น หูอื้อมาก หูตึง ไปถึงขั้นหูหนวก
คุณสมบัติทั่วไป
- ขนาด 10 x 45 x 40 มม.
- น้ำหนัก 6 กรัม (ไม่รวมถ่าน)
- ปรับความดังเสียงได้ 4 ระดับ
- แรงดันไฟฟ้า DC 1.5 โวลต์
- กระแสไฟ: 2.5 มิลลิแอมแปร์
- ประเภทแบตเตอรี่: อัลคาไลน์ 1.4 โวลต์
- สามารถใช้งานต่อเนื่อง: ประมาณ 200 ชั่วโมง/ถ่าน 1 ก้อน
- นำเข้าจากประเทศจีน
คุณสมบัติทางเทคนิค
- Peak OSPL 90 (dB SPL): Max. power output 130 dB
- HAF OSPL 90 (dB SPL): average output 120 dB
- Peak Gain(dB) : Max. gain 46 dB (output minus input)
- HAF/FOG Gain (dB) : average gain 38 dB
- Frequency range (Hz): 500-4500Hz
- Distortion: 500 Hz : 5% | 800Hz: 3%| 1600Hz:1%
- Equivalent Input Noise (dB): 28 dB
อุปกรณ์ประกอบการใช้งาน
- จุกหูฟัง 4 ขนาด (S, M, L, XL)
- ถ่าน A675 (ปราศจากสารปรอท) 2 ก้อน
- แปรงทำความสะอาด 1 ชิ้น
เหมาะกับผู้สูญเสียการได้ยิน : ระดับเริ่มต้น – หูตึงมาก
เครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี แบรนด์ Beurer แบบถ่าน รุ่น HA20
เครื่องช่วยฟังยี่ห้อ Beurer แบบถ่าน มีคุณสมัติเอาไว้เสียบหูรับคลื่นความถี่ของเสียงได้ดี เป็นอุปกรณ์ช่วยฟังที่มีขนาดเล็กแต่เนื่องจากใช้ถ่านอาจมีปัญหาในระหว่างใช้ระยะยาวได้
คุณสมบัติทั่วไป
- ขนาด 40 x 40 x 12 มม.
- น้ำหนัก 9 กรัม
- ช่วงความถี่: 200 ถึง 5000 เฮิรตซ์
- การขยายเสียง: สูงสุด 40 เดซิเบล
- สัญญาณเสียงสูงสุด: 128 เดซิเบล
- ปรับเสียงได้ 4 ระดับ
- ใช้งานต่อเนื่องได้นาน ประมาณ 72 ชม.
- นำเข้าจากประเทศเยอรมันนี
อุปกรณ์ประกอบการใช้งาน
- Earplugs 3 ขนาด
- กล่องเก็บรักษา
- ถ่าน PR48 1.4 V 1 ก้อน
เหมาะกับผู้สูญเสียการได้ยิน : ระดับเริ่มต้น – หูตึงมาก
เครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี แบรนด์ V Behind U แบบถ่าน รุ่น JH-907
เครื่องช่วยฟังขนาดเล็ก แบบใส่ในช่องหูได้อย่างพอดี (In ear) มีประสิทธิภาพการรับเสียงได้สูงเหมาะสำหรับผู้ที่มีปัญหา รับเสียงระดับ 1 ถึง ระดับ 4 (หูหนวก)
คุณสมบัติทั่วไป
- ขนาด : 67 x 42 x 21 มม.
- น้ำหนัก 45 กรัม
- ชนิด Pocket Body แบบมีสาย
- สวิตซ์เปิด-ปิด : 0 – |
- ใช้ถ่าน : AA 1.5 V (จำนวน 1 ก้อน)
- อายุการใช้งานถ่าน 170 ชม. หรือประมาณ 7 วัน
- ได้มาตรฐาน ISO13485 , ISO9001
คุณสมบัติทางเทคนิค
- ระดับความดังสูงสุด ประมาณ 134 เดซิเบล
- ช่วงความถี่ : 200-3800 เฮิรตซ์
- การขยายเสียง ประมาณ 47 เดซิเบล
- ปรับระดับความดังได้ 9 ระดับ
- ควบคุมเสียงได้ 3 โทนเสียง
- N (เสียงนุ่มนวล)
- H1(เสียงชัดเจน)
- H2(เสียงแหลมคมชัด)
อุปกรณ์ประกอบการใช้งาน
- Earplugs 3 ขนาด
- ไขควงปากแบน 1 อัน
- ถุงผ้าเก็บรักษา 1 ใบ
เหมาะกับผู้สูญเสียการได้ยิน : ระดับเริ่มต้น – หูตึงมาก
เครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี แบรนด์ Bluedot แบบชาร์จ รุ่น B-HA02
คุณสมบัติทั่วไป
- ขนาด 14 x 40 x 45 มม.
- น้ำหนัก 7 กรัม
- เสียงของแบตเตอรี่บ่งชี้
- ปรับความดังเสียงได้ 4 ระดับ
- โหมดลดเสียงรบกวน 4 โหมด
- แรงดันไฟฟ้า: DC 3.7 โวลต์
- กระแสไฟ: 2 มิลลิแอมแปร์
- เวลาในการชาร์จ : 4 – 6 ชั่วโมง
- ระยะเวลาการใช้งานต่อเนื่อง/การชาร์จเต็ม 1 ครั้ง : ประมาณ 80 ชั่วโมง
- ประเภทแบตเตอรี่: ลิเธียม (60mA)
- นำเข้าจากประเทศจีน
คุณสมบัติทางเทคนิค
- Peak OSPL 90 (dB SPL): Max. power output 130 dB
- HAF OSPL 90 (dB SPL): average output 120 dB
- Peak Gain(dB) : Max. gain 50 dB (output minus input)
- HAF/FOG Gain (dB) : average gain 40 dB
- Frequency range(Hz): 300-5000 Hz
- Noise reduction Mode : 4 mode selectable
- Distortion: 500Hz : 5% | 800Hz : 3%| 1600Hz: 3%
- Equivalent Input Noise (dB): 28 dB
อุปกรณ์ประกอบการใช้งาน
- จุกหูฟัง 5 ขนาด (Double Eartip, S, M, L, XL)
- แปรงทำความสะอาด 1 ชิ้น
- อะแดปเตอร์พร้อมสาย USB
- กล่องเก็บรักษา
เหมาะกับผู้สูญเสียการได้ยิน : ระดับเริ่มต้น – หูตึงมาก
เครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี แบรนด์ Lifebox แบบถ่าน รุ่น L-HA01
คุณสมบัติทั่วไป
- ขนาด 10 x 40 x 45 มม.
- น้ำหนักเฉพาะตัวเครื่อง 6 กรัม
- ปรับระดับเสียงได้ 4 ระดับ
- ใช้ถ่าน A675 1.4 โวลต์ (1 ก้อน)
- ใช้งานต่อเนื่องได้ประมาณ 200 ชั่วโมง
- รับประกัน 1 ปีจากการใช้งานปกติ
คุณสมบัติทางเทคนิค
- Peak OSPL 90 ( dB SPL) : maximum power output 130 dB
- HAF OSPL 90 ( dB SPL) : average output 120 dB
- Peak Gain(dB) : maximum gain 46 dB (output minus input)
- HAF/FOG Gain (dB) : average gain 38 dB
- Frequency range(Hz) : 500-4500Hz
- Distortion: 500Hz : 5% | 800Hz : 3%ㅣ1600Hz : 1%
- Equivalent Input Noise (dB): 28 dB
อุปกรณ์ประกอบการใช้งาน
- จุกหูฟัง 4 ขนาด (S, M, L, XL)
- แปรงทำความสะอาด 1 ชิ้น
- ถ่าน A675 1.4 V (จำนวน 2 ก้อน)
เหมาะกับผู้สูญเสียการได้ยิน : ระดับเริ่มต้น – หูตึงมาก
เครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี แบรนด์ Lifebox แบบชาร์จ รุ่น L-HA02 รหัส RM-HA07
คุณสมบัติทั่วไป
- ขนาด 14 x 40 x 45 มม.
- น้ำหนักตัวเครื่อง 7 กรัม
- ปรับระดับเสียงได้ 4 ระดับ
- โหมดลดเสียงรบกวน 4 โหมด
- แสดงไฟสถานะชาร์จ LED
- เวลาในการชาร์จ : 4 – 6 ชั่วโมง
- ใช้งานต่อเนื่องได้ประมาณ 80 ชั่วโมง
- รับประกัน 1 ปีจากการใช้งานปกติ
คุณสมบัติทางเทคนิค
- Peak OSPL 90 (dB SPL) : maximum power output 130 dB
- HAF OSPL 90 ( dB SPL) : average output 120 dB
- Peak Gain(dB) : maximum gain 50 dB (output minus input)
- HAF/FOG Gain (dB) : average gain 40 dB
- Frequency range(Hz) : 300-5000Hz
- Distortion: 500Hz : 5% |800Hz : 3%|1600Hz : 3%
- Equivalent Input Noise (dB) : 28 dB
- Rechargeable with Lithium battery
อุปกรณ์ประกอบการใช้งาน
- จุกหูฟัง 5 ขนาด
- แปรงทำความสะอาด 1 ชิ้น
- อะแดปเตอร์พร้อมสาย USB 1 ชุด
- กล่องเก็บรักษา 1 ใบ
เหมาะกับผู้สูญเสียการได้ยิน : ระดับเริ่มต้น – หูตึงมาก
เครื่องช่วยฟังยี่ห้อไหนดี แบรนด์ CRONOS รุ่น CICT3 เครื่องช่วยฟัง เครื่องช่วยฟังดิจิตอล
Cronos เครื่องช่วยระบบ ดิจิตอลนี้มีความคมชัดลึกและเป็นเครื่องช่วยฟังที่ลดเสียงรบกวนมากที่สุด เหมาะสำหรับผู้ หูตึง ระดับ 1 ไปถึง ระดับ 4 (หูหนวก) มาพร้อมกับ ช่องสัญญาณความละเอียดของเสียง เสียงชัด เป็นธรรมชาติ ใช้สำหรับการแบ่งของเสียงระดับความถี่สูง – ต่ำ และมีความคมชัดสูงและสมจริงที่สุด
คุณสมบัติทั่วไป
- เสียงดังสูงสุด 117dB
- ระบบดิจิตอล 10Channel
- มี 4โปรแกรม
- ขนาดเล็กมาก(เทียบเท่าเหรียญ25สตางค์)
- ลดเสียงรบกวนได้ดี ทำให้ได้ยินเสียงพูดที่ชัดขึ้น
- ปกปิดการมองเห็น
- มีปุ่มปรับระดับความดังเสียง
- ใช้ถ่านเบอร์ A10
อุปกรณ์
- เครื่องช่วยฟัง CRONOS รุ่น CICT3
- กล่องเก็บเครื่องช่วยฟัง
- จุกยาง 6 ขนาด
- ไม้ปรับระดับเสียง
- จุกกรองขี้หู
- คู่มือการใช้งาน
- ใบรับประกันสินค้า
เหมาะกับผู้สูญเสียการได้ยิน : ระดับเริ่มต้น – หูตึงมาก
เวลาคุยกับผู้ใช้ต้องพูดเสียงดัง แต่ไม่ถึงขั้นตะโกน